การดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล ในการดูแลผู้ป่วยมีอยู่หลากหลายวิธี แตกต่างแผนการรักษา หลักๆคือต้องการ ผู้ป่วยหายจากอาการเจ็บป่วย เราจะพบได้ทั่วไป ในภาวะเจ็บป่วยอาหารนั้นถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก รู้จักว่าร่างกายต้องนำไปใช้ประโยชน์ในการต่อสู้ความเจ็บป่วย ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำคือสิ่งที่สำคัญอย่างมากสำหรับผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลและมีปัญหาด้านผู้ชนะการที่จะต้องได้รับสารอาหารที่เหมาะสมไปพร้อมพร้อมกับการรักษาของแพทย์ท่านอื่น ๆร่วมด้วย โรงพยาบาลคือการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อจุดประสงค์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนเลือด หรือเพื่อช่วยลดอาการติดเชื้อในร่างกายเป็นต้น แต่หากเราพูดถึงการให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ว่าเป็นการให้อาหารทางหลอดเลือดดำที่ ต้องการให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่เพียงพอในการเสริมสร้างเนื้อเยื่อต่าง ๆเพื่อให้เกิดสมดุลย์ในร่างกาย ถ้าหากผู้ป่วยนั้นไม่สามารถรับอาหารทางปากหรือทางสายยางให้อาหารได้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักๆดังนี้ รักษาความสมดุลของน้ำและสารน้ำในร่างกาย และยังให้สารอาหาร วิตามิน วิตามิน และสามารถเป็นแหล่งพลังงานแก่ร่างกายของผู้ป่วยได้ นอกจากนี้ยังรักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรดด่างในร่างกาย ทั้งนี้การให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ถือว่าเป็นการให้โภชนการบำบัดทางหลอดเลือดดำส่วนปลายหรือการให้สารอาหารบางส่วน การให้พลังงานได้ไม่ครบตามความต้องการหรือไม่ครบหมู่ได้ ซึ่งก็มาจะหาทางเพิ่มสารอาหารวิธีอื่นร่วมด้วย
ในปัจจุบันมีวิธีการให้สารอาหารแก่ผู้ป่วยที่มีปัญหาโภชนาการอยู่ 2 วิธีด้วยกัน คือการให้อาหารผ่านทางการรับประทานเข้าทางปากหรือการใส่สายยางให้อาหารเข้าไปยังกระเพาะอาหารโดยตรง และการให้ผ่านทางหลอดเลือดดำ ถ้าผู้ป่วยได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำจึงมีความจำเป็นอย่างมาก โดยอาหารทางหลอดเลือดดำนั้นมักจะเป็นของเหลว ประกอบไปด้วย
น้ำ
โปรตีน
ไขมัน
คาร์โบไฮเดรต
วิตามิน เกลือแร่
ซึ่งเป็นอาหารหลัก 5 หมู่ ที่ร่างกายต้องการเป็นอย่างมาก ควรเลือกให้ตรงกับความต้องการและวิธีการให้สารอาหาร แม้ว่าการให้สารอาหารเสริมจะสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้ แต่วิธีการนี้อาจมีความเสี่ยง และข้อเสียควรพิจารณาก่อนให้ ตัวหนึ่งในความเสี่ยงขนาดนี้ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าสารอาหารเหล่านั้นจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเชื้อโรคหรือมะเร็งได้อย่างไร
นอกจากนี้การให้สารอาหารแต่ละวิธีย่อมมีผลดีผลเสียต่างกันเช่น การให้ผ่านระบบทางเดินอาหารจะทำให้กระเพาะและลำไส้ทำงานได้อย่างปกติและมีความยุ่งยากในการดำเนินการ น้อยกว่าการให้ทางเส้นเลือด ดังนั้นในการดูแลผู้ป่วยที่ต้องให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ผู้ดูแลจะต้องคอยหมั่นสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด และตัวผู้ดูแลเองจะต้องมีความเชี่ยวชาญเป็นอย่างมาก เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังจากการให้อาหารทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยหายจากการเจ็บป่วยเมื่อกลับบ้านการแนะนำมันพูดชนาการเพื่อบรรเทาอาการของผู้ป่วยในกรณีอาจมีผลข้างเคียงจากการให้อาหาร หลอดเลือดดำเป็นระยะเวลายาวนาน การปรับลำไส้เพื่อให้รับอาหารปกติได้ทั่วไปจากคำแนะนำจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ป่วยจะได้รับสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายอย่างเพียงพอ ในบางครั้งอาจจะได้รับยากระตุ้นความอยากอาหาร และเน้นให้แนะนำรับประทานอาหารที่ให้โดยเฉพาะพลังงาน โปรตีน วิตามิน และเกลือแร่สูงควบคู่ไปกับการวางแผนทางผู้ชนะการที่เหมาะสมและความต้องการของสารอาหารชนิดต่าง ๆที่ผู้ป่วยพึงพอใจในรสชาติ ทั้งนี้เมนูอาหารต่าง ๆจะต้องปรับตามโรคประจำตัวของผู้ป่วยเช่นกัน
อย่างไรก็ตามก็ขอแนะนำให้ผู้ป่วยควรได้รับสารอาหารที่เหมาะสมแก่ร่างกาย เพื่อที่จะป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆที่อาจจะตามมาได้ เรามีบริการอาหารทางสายยาง ที่มีคุณภาพและมาตรฐานเทียบเท่าของโรงพยาบาล เพราะทางเรามีการผลิตอาหารภายในห้องปลอดเชื้อและมีนักโภชนาการคอยควบคุมการผลิตทุกขั้นตอน ตั้งแต่การออกแบบสูตรอาหาร คัดเลือกวัตถุดิบที่จะนำมาประกอบอาหาร เพื่อให้ผู้ได้มั่นใจว่า อาหารที่ผู้ป่วยจะได้รับเข้าสู่ร่างกายจะมีความปลอดภัย และไม่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วย
อาหารสายยาง: ข้อดีและข้อเสียของการให้อาหารทางหลอดเลือดดำ อ่านบทความเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่ https://snss.co.th/อาหารทางสายยาง/